Comments
Transcript
KMITL ผูชวยอธการบดี ฝายพัฒนานักศึกษา Nattawoot
Nattawoot Depaiwa, Ph.D KMITL ¼ÙŒª‹ÇÂÈÒÊμÃÒ¨Òà´Ã.³Ñ°ÇØ²Ô à´ä»ÇÒ ผูชวยอธการบดี ฝายพัฒนานักศึกษา วุฒิการศึกษา - ปริญญาเอกวิศวกรรมศาสตร์ ด้านวิศวกรรมเครื่องกล Chiba University Japan - ปริญญาโทวิศวกรรมศาสตร์ ด้านวิศวกรรมเครื่องกล Chiba University Japan - ปริญญาตรีวิศวกรรมศาสตร์ ด้านวิศวกรรมเครื่องกล Chiba University Japan หลักสูตรประกาศนียบัตรดานการบรหาร - สัมมนาวิชาการด้านเทคโนโลยีเครือข่ายคอมพิวเตอร์ NETDAY 2008, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน , 11-12 พฤศจิกายน 2551 - หลักสูตรการจัดการความรู้ (KM) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน , 20 ม.ค. 2554 - หลักสูตรพัฒนาสมรรถนะผู้บริหารมหาวิทยาลัย รุ่นที่ 1 โดยสํานักฝึกอบรม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ วันที่ 30 มกราคม – 9 กุมภาพันธ์ 2555 ประสบการณ - ประธานสาขาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (พ.ศ. 2553-2557) - หัวหน้าโครงการถ่ายทอดองค์ความรู้และประกวดสิ่งประดิษฐ์เครือข่ายอุดมศึกษา IC-HiEd2014 จัดโดย สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และคณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง - ประธานการจัดงานประชุมวิชาการนานาชาติICoME-2014, The 5th International Conference on Mechanical Engineering วันที่ 17-19 ธันวาคม 2557, จังหวัดเชียงใหม่ จัดโดย สมาคมวิศวกรเครื่องกลไทย และ สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง - ผู้ผลักดันให้เปิดหลักสูตรใหม่ “วิศวกรรมขนส่งทางราง, Rail Transportation Engineering” ในปี 2556 หลักสูตรเดียวในประเทศไทย ที่ให้ปริญญาตรีวิศวกรรมขนส่งทางรางพร้อมใบประกอบวิชาชีพทางวิศวกรรมเครื่องกล เพื่อรองรับความเจริญก้าวหน้าของระบบขนส่งทาง รางของประเทศและภูมิภาคAEC - ผู้ผลักดันให้เปิดหลักสูตรใหม่ “วิศวกรรมการบินและนักบินพาณิชย์, Aeronautical Engineering and Commercial Pilot” ในปี 2558 หลักสูตรภาษาอังกฤษที่เกี่ยวกับการนําความรู้พื้นฐานทางด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มาประยุกต์ร่วมกับความรู้ด้าน วิศวกรรมเครื่องกล และวิศวกรรมการบิน และเตรียมความพร้อมสู่การเป็นนักบินพาณิชย์ - หัวหน้าโครงการเตรียมความพร้อมนักศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกลและวิศวกรรมไฟฟ้า ร่วมมือกับบริษัทTechno-Smile จากประเทศญี่ปุ่น ให้สามารถฟัง พูด เขียน อ่าน ภาษาญี่ปุ่น และสอบวัดระดับความรู้ภาษาญี่ปุ่นระดับN2ได้ เพื่อไปทํางานที่บริษัทเอกชนชั้นนําของญี่ปุ่น ที่ประเทศญี่ปุ่น (พ.ศ. 2557-ปัจจุบัน) - ที่ปรึกษาให้กับบริษัทเอกชนหลายแห่งในการติดตั้งและขนย้ายเครื่องจักรใหญ่ เช่นไลน์เครื่องเพรส ไลน์เครื่องCNC เป็นต้น (พ.ศ. 2550-ปัจจุบัน) - หัวหน้าโครงการศึกษาพฤติกรรมการสั่นของเครื่องซักผ้าฝาบนเพื่อลดการสั่นสะเทือนขณะปั่นแห้ง ซึ่งได้รับทุนสนับสนุนจาก บริษัทซัมซุง ประเทศไทย จํากัดในปี พ.ศ. 2555 - กรรมการโครงการส่งเสริมการวิจัยสิ่งประดิษฐ์ และเครือข่ายนวัตกรรมอุดมศึกษา ของ สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (พ.ศ. 2555-ปัจจุบัน) - กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตัดสินการประกวดสิ่งประดิษฐ์เครือข่ายอุดมศึกษาใน “วันนักประดิษฐ์ ประจําปี 2557” ณ. ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุมอิมแพ็ค (9 ฮอล์) เมืองทองธานี อําเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี (พ.ศ. 2555-ปัจจุบัน) - กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตัดสินการประกวดในโครงการการพัฒนาเครื่องบินวิทยุบังคับแบบปีกหมุนประจําปี 2557 การแข่งขัน “ศึกปีกหมุนประลองทักษะ” ทั้ง 4 ภาค ทั่วประเทศ (พ.ศ. 2555-ปัจจุบัน) งานดานวชาการและวจัย - ได้รับBest Paper Award ในงานประชุมวิชาการนานาชาติKKU-IENC2014 “The 5th International Engineering Conference 2014, Engineering and Technological Response to Global Challenges”วันที่ 27-29 มีนาคม 2557 ที่จังหวัดขอนแก่นในหัวข้อ”Self-Tuning PID Controller Using Genetic Algorithms for Hydraulic Machine with Tracking Force Control” - อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์นักศึกษาปริญญาโทและเอกของหลักสูตรวิศวกรรมเครื่องกล และหลักสูตรนานาชาติ Automotive Engineering ซึ่งเป็นความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยชั้นนําของประเทศญี่ปุ่นและสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง - ได้รับทุนวิจัยจากบริษัทชั้นนําของประเทศเกาหลีใต้ เช่น บริษัทแอลจี และ ซัมซุง ในการวิจัยเพื่อลดการสั่นสะเทือนของเครื่องซักผ้าชนิดฝาบน - อาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิในการประเมินบทความวิจัยในสาขาDynamics and Automatic Control Systems ให้กับเครือข่ายของ สมาคมวิศวกรรมเครื่องกลไทย TSME วทยากรและอาจารยรับเชญ - วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิในกิจกรรมบ่มเพาะนักประดิษฐ์สายอุดมศึกษา ปี 2558 ร่วมกับสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) - วิทยากรบรรยายพิเศษในหัวข้อเรื่องระบบควบคุมอัตโนมัติและการเลือกใช้ระบบส่งกําลังในโรงงานอุตสาหกรรม ให้กับ บริษัทเอกชนหลายแห่ง - อาจารย์พิเศษสอนวิชาระบบควบคุมอัตโนมัติ ให้กับมหาวิทยาลัยรามคําแหง (พ.ศ. 2552-ปัจจุบัน)